วันจันทร์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3 วันจันทร์ ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2559 เวลา 10:30 - 12:30 น.และวันพฤหัสบดี ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2559 เวลา 11:30 - 14:30 น.

DANCE FOR FUN 3


START 

ครั้งที่ 1 วันจันทร์ ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2559 เวลา 10:30 - 12:30 น.

เนื้อหาวันนี้

การจัดประสบการณ์การเคลื่อนไหวสำหรับเด็กปฐมวัย

ประเภทของกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
  • Annareno ได้จัดหมวดหมู่การเคลื่อนไหวดังนี้ 
1. การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับร่างกาย >>1.1 การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ขั้นพื้อฐาน การเดิน วิ่ง กระโดด และอื่นๆ 1.2 การเคลื่อนไหวแบบไม่เคลื่อนที่  การดัน บิดเหยียด และอื่นๆ
2. การเคลื่อนที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ  >> 2.1 การทำให้วัติถุอยู่นิ่งเคลื่อนที่ การขว้าง การตี และอื่นๆ 
2.2 การหยุดวัตถุที่เคลื่อนที่ เช่น การรับ การหยุด และอื่นๆ
  • Sapore and Mitehell  ได้จัดหมวดหมู่การเคลื่อนไหวดังนี้
1. การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน >> การเคลื่อนไหวที่ต้องใช้กล้ามเนื้อมัดใหญเป็นการเคลื่อนไหวที่สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไป และมีอิธิพลต่อการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย
2. การเคลื่อนไหวเสริม >> การเคลื่อนไหวที่พัฒนาภายหลังจากการเคลื่อนไหวพื้นฐาน ส่วนมากต้องอาศัยทักษะที่ละเอีดอ่อน และไม่เกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อใหญ่ เท่าใดนัก เช่น การพูด การพิมพ์ดีด การสีไวโอลิน และอื่นๆ
  • สำนักพัฒนากรมพลศึกษา ประเภทกิจกรรมเคลื่อนไหวเข้าจังหวะ
1. ประเภทเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานตามจังหวะ
2. ประเภทฝึกปฏิบัติตามสัญญาณหรือข้อตกลง
3. ประเภทกิจกรรมเนื้อหา
4. ประเภทฝึกจินตนาการจากคำบรรยาย
5. ประเภทกิจกรรมฝึกความจำ
  • เยาวพา เตชะคุปต์ 
ได้กล่าวถึงการเคลื่อนไหวพื้นฐานหรือเน้นจังหวะได้ว่าเป็นการปูพื้นฐานที่ดีจะช่วยส่งเสริมให้เด็กมีความสามารถในด้านจังหวะ ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
  • การเคลื่อนไหวเบื่องต้น
- เมื่อได้ยินจังหวะเน้นหนัก เด็กอาจนึกถึงการเดินแถวแบบทหารหรื่อการกระโดดควบม้า กระโดดกบ เป็นต้น
- เมื่อได้ยินจังหวะเบาๆและช้าๆ เด็กอาจนึกถึงการเคลื่อนไหวของใบไม้ต้องลม นกบิน หนอนคลาน เป็นต้น
  • การเคลื่อนไหวประกอบเพลง
- การเล่นเกมประกอบเพลง เช่น เก้าอี้ดนตรี เป็นต้น
- การเล่นเกมต่างๆ ของไทย เช่น มอญซ่อนผ้า งูกินหาง เป็นต้น
- การเคลื่อนไหวประกอบเพลง
- การเต้นรำพื้นเมือง
  • เพลงที่มีท่าประกอบและการเล่นประกอบเพลง
เป็นการเคล่อนไหวที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กได้หัดรวบรวมความคิดและสนใจในสิ่งที่ทำอยู่ เด็กรูู็จักบังคับการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่งกาย
  • การเคลื่อนไหวแบบไม่เคลื่อนที่
การก้มตัว การเหยียดตัว การบิดตัว การหมุนตัว การโยกตัว การโอนเอน การดัน เป็นต้น
  • การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่
การเดิน การวิ่ง การกระโดเขย่ง การกระโจน การกระโดสลับเท้า การควบม้า เป็นต้น
  • การเคลื่อนไหวแบบประกอบอุปกรณ์หรือวัตถุ
  • การรู้จักส่วนต่างๆของร่างกาย
การเตรียมร่างกายให้พร้อมทุกส่วน เพื่อให้มีความคล่องตัวถือว่าเป็นการปูพื้นฐานเบื้องต้นอย่างหนึ่ง เด็กต้องรู้ว่าร่างกายแต่ละส่วนนั้นเคลื่อนไหวอย่างไร เด็กต้องฝึกหัดให้เข้าใจถึงลักษณะสภาพและการใช้ร่างกายของตนเองว่าสามารถทำอะไรได้เคลื่อนไหวอย่างไร ร่างกายส่วนไหนเรียกว่าอะไร อยู่ตรงไหน 
  • บริเวณและเนื้อที่
การเคลื่อนไหวย่อมต้องการพื้นที่บริเวณที่จะเคลื่อนไหว การใช้เนื้อที่ทั่วไปในขอบเขตในการกำหนดคือการเคลื่อนตัวจากจุดหนึ่งปอีกจุดหนึ่งไม่ว่าจะโดยลำพังหรือแบบกลุ่ม  ในเวลาที่เด็กเคลื่อนที่เด็กจะสามารถจัดระยะระหว่างตนเองกับผู้อื่่นๆได้ เด็กจะต้องรู็จักการใช้เนื้อที่ให้เต็มและได้จังหวะ
  • ระดับการเคลื่อนไหว
ระดับการเคลื่อนไหวทุกชนิด ให้มีความสมดุลเหมาะสมและท่าทางที่หลากหลายจะไม่เกิดขึ้น ดังนั้นควรมีการเปลี่ยนระดับของการเคลื่อนไหวตลอดเวลา
  • ทิศทางการเคลื่อนไหว
กาเคลื่อนไหวย่อมมีทิศทางไปข้างหน้า ไปด้านข้างหรือรอบๆทิศ ถา้ไม่ได้รับการฝึกไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญก็จะเคลื่อนไที่ไปข้างหน้าเพียงอย่างเดียว
  • การฝึกจังหวะ
การทำจังหวะนั้นมิได้หมายถึงการกำกับจังหวะด้วยการตรบมือเทานั้นแต่หมายถึงการทำจังหวะด้วยวิธีการต่างๆ ซึ่งจะขยับเคลื่อนไหวร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง จะทำจังหวะแบ่งออกเป็น 4 วิธี
1. การทำจังหวะด้วยการใช้ส่วนต่างๆ ขอองรางกาย
2. การทำจังหวะด้วยการเปลงเสียง
3. การทำจังหวะด้วยการใช้เครื่องเคาะจังหวะ
4. การทำจังหวะด้วยการเคลื่อนไหว
  • การเคลื่อนไหวพื้นฐาน
1.การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ 2. การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
  • วัตถุประสงค์ของกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
- พัฒนาอวัยวะทุกส่วนของร่างกายให้สัมพันธ์กัน
- ให้เด็กผ่อนคลายเความตึงเครียด
- เด็กได้รับประสบการณ์ ความสนุกสนาน รื่นเริง
- สนองความต้องการตามธรรมชาติ ความสนใจ พอใจของเด็ก
- ให้เด็กเกฺโความทราบซึ้งในการฟังดนครีและจังหวะ
- พัฒนาการทักษะทางด้านสังคม การปรับตัว และให้ความร่วมมือ
- ให้เด็กได้มีความคิดสร้างสรรค์ ให้เด็กได้มีโอกาศแสดงออก
- พัฒนาภาษาา ฝึกฟังคำสั่งข้องตกลง 
- ฝึกการเป็นผู็นำผู้ตามที่ดี
  • การเตรียมรางกาย
ให้รู้จักส่วนต่างไของร่างกาย ว่าอยู่ตรงไหน ชื่ออะไร ขณะเคลื่อนไหวควรฝึกให้เด็กรู้ตัวว่าร่างกายหรืออวัยวะส่วนใดกำลังทำอะไรอยู่
  • ข้อเสนอแนะ
- ควรยึดหลักการจัดกิจกรรมที่เน้นให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง
- ผู้เลี้ยงดูเด็กควรยอมรับความคิดของเด็กเพื่อให้เด็กฝึกคิด
- อาจเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เพื่อเด็กจะได้สนุก
- การใช้คำถามควรเป็นคำถามปลายเปิเเพื่อให้เด็กตอบได้หลากหลาย ไม่ควรใช้คำถามที่ต้องต่อบ ว่า ใช่ ไม่ใช่
- ระยะเวลาในการทำกิจกรรมควรยืดหยุ่นเหมาะสม ควรคำนึงถึงความสนใจของเด็กด้วย
  • แนวทางการประเมิน
สังเกตจาก
- การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย
- การทำท่าทางแปลกใหม่
- การทำตามข้อตกลง
- การแสดงออก
- ควาสนใจในการทำกิจกรรม


สมองกับการเรียนรู้



สมองของคนเรานั้นแบ่งออกเป็น 2 ซีก ซ้ายและขวา



สมองซีกซ้ายควบคุมการทำงานของของร่างกายซีกขวา ส่วนสมองซีกขวาควบคุมการทำงานของร่างกายซีกซ้าย




การทำงานของสมอง


มาบริหารสมองกันเถอะ



มาออกกำลังสมองกัน




ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดี ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2559 เวลา 11:30 - 14:30 น.

(ไม่มีการเรียนการสอน)

............................................................................................................................................................................................................

การนำความรู้มาประยุกต์ใช้

  • สามารถนำหลักการในการจัดการเคลื่อนไหวให้เด็กให้เหมาะสมและตรงตามความต้องการของเด็กได้ในอนาคต
  • สามารถให้เด็กฝึกบริหารสมองก่อนลงมือทำกิจกรรมเพื่อให้เด็กมีสมาธิเมื่อลงมือทำกิจกรรมแล้วจะได้รับการพัฒนาอย่างเต็มประสิธิภาพ
  • นำการฝึกสมองมาใช้กับตนเองได้อีกด้วยเพื่อเพิ่มสมาธิเพื่อให้ตนเองเรียนรู้ได้ดีขึ้นและที่สำคัญสามารถทำให้เราผ่อนคลายได้อีกด้วย

การประเมินผล

การประเมินตนเอง

มีความตั้งใจในการเรียนและเนื้องจากกรเรียนนั้นสนุกและเป็นกันเองก็เลยอาจจะมีนอกเรื่องนิดหน่อย 

การประเมินเพื่อน

เพื่อนๆน่ารักตั้งใจเรียนทำให้บรรยากาศในห้องเรียนสนุก

การประเมินอาจารย์

อาจารย์เตรียมการสอนมาเป็นอย่างดีมีการอธิบายและให้คววมรู้เพิ่มเติมนอกจากในบนเรียน เป็นกันเองน่ารัก


จบการบันทึกครั้งที่ 3 

^ 3^






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น